ข้อควรรู้เรื่องโอนที่ดินให้ ลูก ญาติ เสียค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง พร้อมข้อควรระวังหลังโอน
โอนที่ดิน ขายอสังหาริมทรัพย์ นอกจากจะเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างแล้วยังต้องเสียภาษี และค่าธรรมเนียมที่แตกต่างกัน
วันนี้ทางเรามีข้อแนะนำ สำหรับการซื้อขาย โอนที่ดิน ที่นอกจากการเสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ในขั้นตอนการขายอสังหาริมทรัพย์ต่างๆ จะมีการคิดภาษีค่าโอนที่ดิน ซึ่งแตกต่างกันไปตามแต่ละกรณีต่างๆดังนี้
กรณีโอนให้ญาติพี่น้อง
สำหรับค่าการโอนที่ดินให้กับญาติพี่น้องนั้น แม้จะมีความเกี่ยวพันกันทางสายเลือด แต่ก็มีความแตกต่างกันตามแต่ละกรณี โดยสามารถดูได้ดังนี้
ค่าการโอนที่ดินสำหรับลูกที่ชอบด้วยกฎหมาย
สำหรับคำว่าลูกที่ชอบด้วยกฎหมายนั้น หมายถึง ลูกที่ได้กำเนิดในระหว่างที่ฝ่ายพ่อและแม่อยู่ในระหว่างการจดทะเบียนสมรส แล้วต้องการยกที่ดินที่มีให้กับลูก จะมีค่าใช้จ่ายสำหรับการโอนที่ดินดังนี้
หมายเหตุ:สำหรับลูกบุญธรรมจะถูกนับรวมในกรณีของการโอนที่ดินสำหรับญาติพี่น้อง
ค่าโอนที่ดินสำหรับลูกที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ค่าโอนที่ดินสำหรับสามีภรรยา
สำหรับคู่แต่งงาน หรือสามี-ภรรยาที่ต้องการจะมอบที่ดินให้แก่กัน แต่ไม่ใช่ในรูปแบบของมรดก จะมีค่าใช้จ่ายในการโอนที่ดิน ดังนี้
ค่าโอนที่ดินสำหรับญาติพี่น้อง ที่ไม่ใช่ลูก
ญาติพี่น้องในที่นี้ หมายถึง พี่น้อง ปู่ ย่า น้า อา ลูกเขย ลูกสะใภ้ และรวมไปถึงลูกบุญธรรม หากไม่ได้ทำการโอนในรูปแบบของมรดก จะต้องเสียค่าโอนที่ดินดังนี้
จะสังเกตได้ว่า แม้จะเป็นญาติสนิทฝ่ายใดก็ตาม หากไม่ใช่ผู้ที่เป็นลูกแท้ๆ ก็ต้องเสียภาษีค่าโอนที่ดินในจำนวนเดียวกันกับการซื้อขายที่ดินตามปกติ เพียงแต่ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจะมีการหักค่าใช้จ่ายยืนพื้นที่50%(ไม่จำกัดจำนวนปีที่ครอบครอง)
กรณีโอนในฐานะมรดก
สำหรับการโอนในฐานะมรดก จะเสียค่าโอนที่ดินเพียงค่าธรรมเนียมจดทะเบียนโอนมรดกเท่านั้น โดยจะแบ่งออกเป็น 2 กรณีดังนี้
นอกจากนี้ ยังมีเงื่อนไขพิเศษจากการโอน ในฐานะมรดกเพิ่มเติม ดังนี้
กรณีโอนสำหรับซื้อ-ขาย
สำหรับการโอนซื้อขายที่ดินนั้น ไม่ว่าอีกฝ่ายจะเป็นญาติพี่น้องหรือใคร ก็จะมีค่าใช้จ่ายจำเป็นด้วยกันทั้งหมดดังนี้
ข้อควรระวังหลังการโอน
อีกสิ่งหนึ่งที่อยากจะเตือนให้พึงระวังเอาไว้ นั่นก็คือ เมื่อทำการโอนแล้ว กรรมสิทธิ์ทั้งหมด จะตกเป็นของเจ้าของใหม่ทันทีโดยที่เจ้าของเดิมไม่สามารถดำเนินการอะไรต่อได้อีกแล้ว
แม้ว่ากรณีที่โอนให้กันในรูปแบบมรดก หรือพ่อแม่ยกให้ลูก อาจสามารถไถ่ถอนคืนได้ แต่สำหรับการซื้อขายตามปกตินั้น จะไม่มีสิทธิ์ใดๆเลย ผู้โอนจึงต้องระมัดระวัง ในขั้นตอนโอนที่ดินเอาไว้ให้มากๆ
ตัวอย่างหนังสือมอบอำนาจ ขายฝากที่ดิน